ผศ. ดร. ณัฐพงศ์ วงศ์พร้อมมูล

การติดต่อ :
Phone : 0 3424 1971 E-mail : w.natapong@gmail.com
การศึกษา :
- วศ.ด.(วิศวกรรมไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (2557)
- วศ.ม.(วิศวกรรมโทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (2554)
- Master of Business (Enterprise Resources Planning: ERP SAP/R3), University of Western Sydney, Australia (2007)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (2548)

Research Area
การประมวลผลสัญญาณอนาล็อก การออกแบบวงจรกรองความถี่ การเขียนโปรแกรม ฐานข้อมูล คลังข้อมูล ธุรกิจอัจฉริยะ(BI)
Research Area
ผลงานวิจัย
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่:
1. ณัฐพงศ์ วงศ์พร้อมมูล และ พิพัฒน์ พรหมมี, (2019). “การออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบขั้นบันได Elliptic อันดับสูงโดยใช้ MO-CCCII” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ ๔๒ (EECON-42), นครราชสีมา, ประเทศไทย, vol.2 หน้า 453-456.
2. Pipat Prommee, Natapong Wongprommoon, Fabian Khateb and Narongsak Manositthichai, (2019). “Simple Structure OTA-C Elliptic Band-pass Filter”, 16th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunication and Information Technology (ECTI-CON 2019), Chonburi, Thailand, pp.751-754.
3. Pipat Prommee, Natapong Wongprommoon and Roman Sotner, (2019). “Frequency Tunability of Fractance Device based on OTA-C”, 2019 42nd International Conference on Telecommunications and Signal Processing (TSP 2019), Budapest, Hungary, pp. 76-79.
4. ปวีณวัช นาถประชา, รณพร บุญรัตน์, วิรชัย เขื่อนแก้ว, หรรษวัส ขันตยาภิรัตกุล และ ณัฐพงศ์ วงศ์พร้อมมูล, (2019). “การประยุกต์ใช้ข้อมูลจาก IoT กับ ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อเรียนรู้พฤติกรรมการใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้า”, การประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 11, อุบลราชธานี, ประเทศไทย, หน้า 343-346.
5. ณัฐพงศ์ วงศ์พร้อมมูล, พงษ์พันธ์ ลิ้มไพบูลย์ และ พิพัฒน์ พรหมมี, (2018). “วงจรมอดูเลต QPSK โดยใช้เทคโนโลยีซีมอส” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ ๔๑ (EECON-41), อุบลราชธานี, ประเทศไทย, vol.2 หน้า 101-104.
6. ณรงค์ศักดิ์ มโนสิทธิชัย, ณัฐพงศ์ วงศ์พร้อมมูล และ พิพัฒน์ พรหมมี, (2018). “วงจรกำเนิดสัญญาณรูปไซน์หลายเฟสสองรูปแบบโดยใช้อุปกรณ์แอกทีฟเพียงอย่างเดียว” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ ๔๑ (EECON-41), อุบลราชธานี, ประเทศไทย, vol.2 หน้า 105-108.
7. Natapong Wongprommoon, Narongsak Manositthichai and Pipat Prommee, (2018). “OTA-C based compact Low-pass Elliptic Filter”, The 18th International Symposium on Communications and Information Technologies (ISCIT 2018), Bangkok, Thailand, Paper No. 1570472028, pp.247-250.
8. Natapong Wongprommoon, Narongsak Manositthichai and Pipat Prommee, (2018). “High-order BP Filter using Biquad Log-domain Method”, 15th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunication and Information Technology (ECTI-CON 2018), Chiang Rai, Thailand, Paper No. 1256, pp.98-101.
9. Natapong Wongprommoon, Narongsak Manositthichai and Pipat Prommee, (2018). “Integrable QPSK Modulator using CMOS Technology”, 2018 41st International Conference on Telecommunications and Signal Processing (TSP 2018) , Athens, Greece, Paper No. 89, pp. 202-205.
10. Natapong Wongprommoon, Preecha Thongdit and Pipat Prommee, (2018). “Current-mode Square-Rooting Circuit based on CMOS Translinear”, 2018 41st International Conference on Telecommunications and Signal Processing (TSP 2018) , Athens, Greece, Paper No. 88, pp. 198-201.
11. กิติภูมิ แสงนิ่ม,ฉัตริน ชนกกวินกุล, ณัฐพล บัตรสูงเนิน, พีรพล รัตนะวงศ์กุล, ณัฐพงศ์ วงศ์พร้อมมูล และพิพัฒน์ พรหมมี, (2018). "อุปกรณ์ป้องกันอาการหลับในระหว่างการขับขี่", การประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 10, พิษณุโลก, ประเทศไทย, หน้า 533-536.
12. ณัฐพงศ์ วงศ์พร้อมมูล, ปรีชา ทองดิษฐ์ มนตรี, ศิริปรัชญานันท์ และ พิพัฒน์ พรหมมี, (2017). “วงจรรากที่สองรูปแบบกระแสโดยใช้หลักการซีมอสทรานสลิเนียร์,” ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ ๔๐ (EECON-40), ชลบุรี, ประเทศไทย, หน้า 618-621.
13. ณัฐพงศ์ วงศ์พร้อมมูล, ศุภวัฒน์ ลาวัณย์วิสุทธิ์, ณรงค์ศักดิ์ มโนสิทธิชัย และ พิพัฒน์ พรหมมี, (2017). “วงจรกรองแถบความถี่ผ่านอันดับสูงโดยใช้หลักการของซีมอสไบควอต,” ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ ๔๐ (EECON-40), ชลบุรี, ประเทศไทย, หน้า 622-625.
14. Narongsak Manositthichai, Natapong Wongprommoon, Terdsak Kunto and Pipat Prommee, (2016). "Simulating RLC Ladder Band-Pass Filter Using MO-OTA," Proc. of 2016 International Workshop on Smart Info-Media Systems in Asia (SISA2016), Ayutthaya, Thailand, pp. 278-281.
15. Natapong Wongprommoon, and Pipat Prommee, (2014). "OTA-based electronically tunable elliptic high-order current-mode ladder band-pass filter," Proc. of IEEE International Symposium on Intelligent Signal Processing and Communication Systems (ISPACS2014), Kuching, Malaysia, pp.133-136.
16. ธรณินทร์ ต่ายสวัสดิ์, ณัฐพงศ์ วงศ์พร้อมมูล, มนตรี สมดุลยกนก และ พิพัฒน์ พรหมมี, (2013). “วงจรกรองความถี่ตํ่าผ่านอันดับห้าปรับค่าได้รูปแบบกระแสชนิดขั้นบันไดโดยใช้เทคโนโลยีซีมอส,” ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ ๓๖ (EECON-36), กาญจนบุรี, ประเทศไทย, หน้า 625-628.
17. Pipat Prommee, and Natapong Wongprommoon (2013). "Tunable CMOS-based Current Mode Fifth-order Ladder Low-pass Filter," Proc. of 36th International Conference on Telecommunications and Signal Processing (TSP2013), Rome, Italy, pp.397-400.
18. ณัฐพงศ์ วงศ์พร้อมมูล, วินัย ใจกล้า และ พิพัฒน์ พรหมมี, (2010). "วงจรกำเนิดสัญญาณไซน์หลายเฟสรูปแบบกระแสโดยใช้การกรองสัญญาณแบบ Log-domain," ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ ๓๓ (EECON-33), เชียงใหม่, ประเทศไทย, หน้า 1049-1052.


ผลงานวิจัยฉบับเต็ม
1. Pipat Prommee, Natapong Wongprommoon, Montree Kumngern and Winai Jaikla, (2019) “Low-Voltage Low-Pass and Band-Pass Elliptic Filters Based on Log-Domain Approach Suitable for Biosensors”. Sensors 2019, Vol.19 (24), 5581. (IF2019=3.031)
2. Pipat Prommee, Natapong Wongprommoon, (2013). “Log-domain All-pass Filter-based Multiphase Sinusoidal Oscillators”. Radioengineering, Vol. 22, No.1, pp.14-23. (IF2011=0.739)
ผลงานวิจัยในฐานะอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ผลงานวิจัยสร้างสรรค์
ตำรา หนังสือ
บทความทางวิชาการ
อื่นๆ
สิทธิบัตร