ผศ.ดร. อรุณศรี ลีจีรจำเนียร

การติดต่อ :
Phone : 034219364 ext. 25309 E-mail : arunsri@su.a
การศึกษา :
- Ph.D. (Food Microbiology) The University of Reading, UK (2000)
- วท.ม. (จุลชีววิทยา)มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2530)
- วท.บ. (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2524)

Research Area
Food quality in microbiology and chemistry, Volatile compounds or flavor in foods
Research Area
1. หัวหน้าโครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากโยเกิร์ตนมถั่วเหลืองสำหรับผู้หญิงวัยทอง ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2548-2550
2. ผู้ร่วมโครงการวิจัย ชุดโครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตกล้วยอบแห้ง มหาวิทยาลัยศิลปากร จ.นครปฐม ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2549
3. หัวหน้าโครงการวิจัย การใช้สารโพลีฟีนอลที่สกัดจากชาเพื่อยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียที่สร้างสปอร์ในอุตสาหกรรมอาหารนม (TMag) ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2549-2551
4. หัวหน้าโครงการวิจัย การใช้กรดอินทรีย์ทดแทนซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในการฟอกขาวเส้นก๋วยเตี๋ยวที่ทำจากข้าว ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2550
5. หัวหน้าโครงการวิจัย การทำเอ็นแคพซูเลชั่นของน้ำมันหอมระเหยจากมะนาวโดยวิธีการตกผลึกร่วมกับซูโครส (TMag) ได้รับทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2550
6. หัวหน้าโครงการวิจัย การลดปริมาณจุลินทรีย์ในปลาหมึกด้วยน้ำโอโซน ได้รับทุนจาก โครงการ IRPUS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2550
7. หัวหน้าโครงการวิจัย การผลิตเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสจากกากมะพร้าว ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2551-2553
8. หัวหน้าโครงการวิจัย การใช้ประโยชน์ของเหลวจากการหมักกะปิ ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2551
9. หัวหน้าโครงการวิจัย ศึกษาชนิดและสัดส่วนของสารเสริมความคงตัวและสารเพิ่มความข้นหนืดที่เหมาะสมกับโยเกิร์ตนมถั่วเหลือง ได้รับทุนจาก โครงการ IRPUS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2551
10. หัวหน้าโครงการวิจัย การลดปริมาณจุลินทรีย์ในกุ้งเยือกแข็งโดยการล้างด้วยน้ำโอโซน ได้รับทุนจาก โครงการ IRPUS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2551
11. หัวหน้าชุดโครงการวิจัย การยืดอายุการเก็บรักษาอาหารด้วยการใช้โอโซน ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2552
12. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การคัดเลือกสายพันธุ์แบคทีเรียแลคติกที่สามารถลดกลิ่นถั่วและลดน้ำตาลโอลิโกแซคคาไรด์ ที่เป็นสาเหตุของการเกิดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตพร้อมดื่มจากนมถั่วเหลือง (TMag) ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2552-2553
13. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การลดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในอุตสาหกรรมซอสปรุงรส (TMag) ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2552-2553
14. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การผลิตสารให้กลิ่นรสซาโวรี่ด้วย Bacillus sp. โดยการหมักด้วยวิธี submerged cultureได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2553-2554
15. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง เปรียบเทียบผลของการลดเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคในปลาหมึกสดแช่เยือกแข็ง ระหว่างการใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์กับเปอร์อะซิติกแอซิค ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2554
16. ผู้อำนวยแผนการวิจัย การพัฒนาครัสเตอร์ของกลุ่มธุรกิจขนมไทยท้องถิ่นและการจัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศสำหรับเส้นทางใหม่ของการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้อาหารในภูมิภาคตะวันตก ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2555-2556 งบประมาณ 4,046,460 บาท (สัญญาเลขที่ RDG 5550030 เวลา 12 เดือน 15 พฤษภาคม 2555- 14 พฤษภาคม 2556)
17. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การผลิตสารไบโอแอคทีฟชนิดผงโดยวิธีอิมัลชันเชิงซ้อน” ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2556-2557 งบประมาณ 1,265,800 บาท (สัญญาเลขที่ RDG 5650127 เวลา 12 เดือน 1 กันยายน 2556- 31 สิงหาคม 2557)
18. ผู้อำนวยแผนการวิจัย การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้อาหารในภูมิภาคตะวันตก ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2557-2558 งบประมาณ 2,385,900 บาท (สัญญาเลขที่ RDG 5750021 เวลา 12 เดือน 15 กรกฎาคม 2557- 14 กรกฎาคม 2558)
19. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การประยุกต์ใช้สารประกอบกลิ่นรสหลักเป็นตัวชี้วัดกระบวนการผลิตนมเปรี้ยว” ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2557-2558 งบประมาณ 575,500 บาท (สัญญาเลขที่ RDG 5750087 เวลา 12 เดือน 1 กันยายน 2557- 31 สิงหาคม 2558)
20. ผู้ร่วมโครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของน้ำส้มสายชูหมัก และพัฒนาผลิตภัณฑ์ไซรัปน้ำอ้อยและเครื่องดื่มชนิดต่างๆจากน้ำอ้อย ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2558-2559 งบประมาณ 1,442,700 บาท (สัญญาเลขที่ RDG 5950004 เวลา 12 เดือน 1 ธันวาคม 2558- 30 พฤศจิกายน 2559) อาจารย์ ดร. ชัยวัฒน์ บรรใดเพ็ชร เป็นหัวหน้าโครงการ
21. หัวหน้าโครงการย่อยเรื่อง “พัฒนาการผลิตเนยเหลวในโรงงานอุตสาหกรรมนมขนาดเล็ก” ภายใต้ชุดโครงการ “การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของโรงงานอุตสาหกรรมนมขนาดเล็ก”ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2559 งบประมาณ 900,000 บาท (สัญญาเลขที่ SURDI 59/02/10 เวลา 12 เดือน 20 มกราคม 2559- 19 มกราคม 2560) อาจารย์ ดร. สุจินต์ วุฒิชัยวัฒน์ เป็นหัวหน้าชุดโครงการ
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่:
วารสารวิชาการ
1. Rawicha Chaipojjana, Suttipong Phosuksirikul and Arunsri Leejeerajumnean. 2014. Survival of four probiotic strains in acid, bile salt and after spraying. International Journal of Biological, Food, Veterinary and Agricultural Engineering 8 (9) 1017-1020.
2. Suttipong Phosuksirikul, Rawicha Chaipojjana and Arunsri Leejeerajumnean. 2014. The relations of volatile compounds, some parameters and consumer preference of commercial fermented milks in Thailand. International Journal of Biological, Food, Veterinary and Agricultural Engineering 8 (9) 1026-1029.
3. Arunsri Leejeerajumnean. 2003. Thua nao: Alkali Fermented Soybean from Bacillus subtilis. Silpakorn University International Journal. Volume 3 Number 1-2, January-December 2003. 277-278

ผลงานวิจัยฉบับเต็ม
1. อรุณศรี ลีจีรจำเนียร ประมุข ภระกูลสุขสถิตย์ และ สายสนม ประดิษฐ์ดวง. 2552. การใช้ประโยชน์ของเหลวจากการหมักกะปิ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ปี 2552
2. จงรักษ์ แดงฟู และอรุณศรี ลีจีรจำเนียร. 2552. การทำเอ็นแคพซูเลชันของน้ำมันหอมระเหยจากมะนาวโดยวิธีการตกผลึกร่วมกับซูโครส รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการทุนวิจัยสกว. มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ทุน ปี 2551
3. ปัญจ์ยศ มงคลชาติ และอรุณศรี ลีจีรจำเนียร. 2554. การลดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในอุตสาหกรรมซอสปรุงรส รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการทุนวิจัยสกว. มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ทุน ปี 2552
4. สุมาลี ปัญญาจิรวุฒิ และอรุณศรี ลีจีรจำเนียร. 2554. การคัดเลือกสายพันธุ์แบคทีเรียแลคติกที่สามารถลดกลิ่นถั่วและลดน้ำตาลโอลิโกแซคคาไรด์ที่เป็นสาเหตุของการเกิดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตพร้อมดื่มจากนมถั่วเหลือง รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการทุนวิจัยสกว. มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ทุน ปี 2552
5. อรุณศรี ลีจีรจำเนียร และ สุวัฒนา พฤกษะศรี. 2555. การผลิตไพราซีนด้วย Bacillus sp. โดยการหมักด้วยวิธี submerged culture รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ปี 2554
6. ยิ่งลักษณ์ การะวิโก และอรุณศรี ลีจีรจำเนียร. 2556. เปรียบเทียบผลของการใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์กับกรดอ่อนในการลดปริมาณเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคในปลาหมึกสดแช่เยือกแข็ง รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ได้รับทุนสนับสนุนจากโครงการทุนวิจัยสกว. มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ทุน ปี 2554
7. อรุณศรี ลีจีรจำเนียร รวิชา ชัยพจนะ และ สุทธิพงศ์ โพธิ์สุขศิริกุล 2557 การผลิตสารไบโอแอคทีฟชนิดผงโดยวิธีอิมัลชันเชิงช้อน ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2556-2557
8. อรุณศรี ลีจีรจำเนียร และ สุทธิพงศ์ โพธิ์สุขศิริกุล 2558 การประยุกต์ใช้สารประกอบกลิ่นรสหลักเป็นตัวชี้วัดกระบวนการผลิตนมเปรี้ยว ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2557-2558
ผลงานวิจัยในฐานะอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ธนกร เบญจประเสริฐศรี. 2547. การฟอกสีแป้งถั่วเขียวและวุ้นเส้นโดยใช้กรดอินทรีย์บางชนิด หรือไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ทดแทนการใช้ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (BLEACHING OF MUNG BEAN STARCH AND VERMICELLI BY USING SOME ORGANIC ACIDS OR HYDROGENPEROXIDE AS A SUBSTITUTE FOR SULPHUR DIOXIDE)
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
จารุวรรณ ธนธนานนท์. 2547. การเติมพรีไบโอติกในผลิตภัณฑ์นมเปรี้ยวพร้อมดื่ม (FORTIFIED PREBIOTIC IN DRINKING YOGHURT)
หัวหน้านักวิจัย นักวิจัยร่วม อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
พรระยับ สุนทรกมล. 2547. ผลของความแตกต่างระหว่างสายพันธุ์ กระบวนการแปรรูป และระดับการคั่วต่อการเกิด กลิ่นรสของกาแฟไทย (EFFECT OF DIFFERENT CULTIVARS, PROCESSING PROCEDURE AND DEGREE OF ROASTING ON VOLATILE COMPOUNDS PRODUCTION IN THAI COFFEE)
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
นนทวัชร ชิตวิลัย. 2547. การเปลี่ยนแปลงของสารประกอบระเหยและกรดอินทรีย์ระหว่างกระบวนการหมักกาแฟอารา บิก้าที่ปลูกในประเทศไทย (CHANGES OF VOLATILE COMPOUNDS AND ORGANIC ACIDS DURING F FERMENTATION OF ARABICA COFFEE IN THAILAND)
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
นิพัฒน์ ลิ้มสงวน. 2547. การศึกษากระบวนการสกัด คุณสมบัติในการเป็นสารยับยั้งจุลินทรีย์ และสารต้านอนุมูลอิสระ ของคาเทชินจากชาเขียวของไทย (THE STUDY OF EXTRACTION PROCEDURE, ANTIMICROBIAL AND ANTIOXIDANT PROPERTIES OF CATECHINS FROM THAI GREEN TEA)
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ณฐมน รุ่งสร้างธรรม. 2549. การเปลี่ยนแปลงสารประกอบระเหยในเมล็ดกาแฟอาราบิก้าคั่วระหว่างการเก็บรักษา (CHANGES OF VOLATILE COMPOUNDS IN ROASTED ARABICA COFFEE BEANS DURING STORAGE)
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
สุภาภรณ์ วงศ์พิพันธ์. 2550. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากโยเกิร์ตถั่วเหลืองสำหรับผู้หญิงวัยทอง
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
อรอุรัช เอื้อศิริพันธ์. 2550. การใช้สารโพลีฟีนอลที่สกัดจากชาเพื่อยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียที่สร้างสปอร์ในอุตสาหกรรมนม
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ภัทรา ปกรณ์สมบูรณ์.2550. การใช้กรดอินทรีย์ทดแทนโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ในการฟอกสีเส้นก๋วยเตี๋ยวที่ทำจากข้าว
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
บุญชัย พิมพ์นาค. 2552. การทำเอ็นแคปซูเลทกรดซิตริก โดยวิธีทำแห้งแบบพ่นฝอยและการประยุกต์ใช้ใน เครื่องปรุงรสผง
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
จงรักษ์ แดงฟู 2553 การทำเอ็นแคพซูเลชันของน้ำมันหอมระเหยจากมะนาวโดยวิธีการตกผลึกร่วมกับซูโครส
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
บัณฑิตา ปิงโสภา.2553. การทำให้บริสุทธิ์และการศึกษาคุณสมบัติของเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสจากเชื้อ Bacillus subtilis TNCC 001409 โดยใช้กากมะพร้าวเป็นสับสเตรท
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
การผลิตกะปิผงจากของเหลวที่ได้จากการหมักกะปิ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
สุมาลี ปัญญาจิรวุฒิ. 2554. การคัดเลือกสายพันธุ์แบคทีเรียแลคติกที่สามารถลดกลิ่นถั่วและลดน้ำตาลโอลิโกแซคคาไรด์ที่เป็น สาเหตุของการเกิดอาการท้องอืดท้องเฟ้อ ในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตพร้อมดื่มจากนมถั่วเหลือง
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ปัญจ์ยศ มงคลชาติ.2554. การลดการปนเปื้อนเชื้อุลินทรีย์ในอุตสาหกรรมซอสปรุงรส
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
นพมณีรัตน์ ลีลาวิวัฒน์.2554. การผลิตสารให้กลิ่นรสซาโวรี่ด้วย Bacillus sp. โดยการหมักด้วยวิธี submerged culture
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
พัชรกมล สุทัศนวิชานนะ.2555. ปัจจัยที่มีผลต่อความคงตัว และกระบวนการทำแห้งสารไพราซีนที่ได้จากการหมักด้วยวิธี s submerged culture (Factors effecting on the stability and drying process of pyrazine produced by submerged culture fermentation)
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
กฤติยา กุลชาติดิลก.2556. ผลของการเติมผงสกัดจากชาเขียวและแคนเบอร์รี่ต่อคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตพร้อมดื่ม พาสเจอร์ไรส์
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ปิยนุช ไพโรจน์กัลยา2556. การผลิตโปรตีนไฮโดรไลเซทจากพืชโดยการย่อยด้วยเอนไซม์
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
เบญจวรรณ แจ่มใส. 2556. เปรียบเทียบการผลิตสีและกลิ่นใบเตยโดยวิธีการทำแห้งแบบพ่นฝอยกับวิธีการตกผลึกร่วมกับซู โครส
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ยิ่งลักษณ์ การะวิโก. 2557. เปรียบเทียบผลของการใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์และกรดอ่อนในการลดปริมาณเชื้อที่ก่อให้ เกิดโรคในปลาหมึกสดแช่เยือกแข็ง
หัอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
สุทธิพงศ์ โพธิ์สุขสิริกุล.2558. การประยุกต์ใช้สารประกอบกลิ่นรสหลักเป็นตัวชี้วัดกระบวนการผลิตนมเปรี้ยว
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
รวิชา ชัยพจนา.2558 การผลิตสารไบโอแอคทีฟชนิดผงโดยวิธีอิมัลชันเชิงซ้อน
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ไอรดา ปิงสุเสน. 2559. การผลิตสีผสมอาหารจากแคโรทีนอยด์ในเนื้อตาลสุก
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ปวีณา ชัยมงคลมณี. 2559. การเพิ่มความคงตัวของแอนโทไซยานินจากกากองุ่นด้วยวิธีเอนแคปซูลเลชั่นร่วมกับการทำแห้ง แบบโฟมแมท
ผลงานวิจัยสร้างสรรค์
1. หัวหน้าโครงการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากโยเกิร์ตนมถั่วเหลืองสำหรับผู้หญิงวัยทอง ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2548-2550
2. ผู้ร่วมโครงการวิจัย ชุดโครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตกล้วยอบแห้ง มหาวิทยาลัยศิลปากร จ.นครปฐม ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2549
3. หัวหน้าโครงการวิจัย การใช้สารโพลีฟีนอลที่สกัดจากชาเพื่อยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียที่สร้างสปอร์ในอุตสาหกรรมอาหารนม (TMag) ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2549-2551
4. หัวหน้าโครงการวิจัย การใช้กรดอินทรีย์ทดแทนซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในการฟอกขาวเส้นก๋วยเตี๋ยวที่ทำจากข้าว ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2550
5. หัวหน้าโครงการวิจัย การทำเอ็นแคพซูเลชั่นของน้ำมันหอมระเหยจากมะนาวโดยวิธีการตกผลึกร่วมกับซูโครส (TMag) ได้รับทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2550
6. หัวหน้าโครงการวิจัย การลดปริมาณจุลินทรีย์ในปลาหมึกด้วยน้ำโอโซน ได้รับทุนจาก โครงการ IRPUS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2550
7. หัวหน้าโครงการวิจัย การผลิตเอนไซม์แอลฟาอะไมเลสจากกากมะพร้าว ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2551-2553
8. หัวหน้าโครงการวิจัย การใช้ประโยชน์ของเหลวจากการหมักกะปิ ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2551
9. หัวหน้าโครงการวิจัย ศึกษาชนิดและสัดส่วนของสารเสริมความคงตัวและสารเพิ่มความข้นหนืดที่เหมาะสมกับโยเกิร์ตนมถั่วเหลือง ได้รับทุนจาก โครงการ IRPUS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2551
10. หัวหน้าโครงการวิจัย การลดปริมาณจุลินทรีย์ในกุ้งเยือกแข็งโดยการล้างด้วยน้ำโอโซน ได้รับทุนจาก โครงการ IRPUS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2551
11. หัวหน้าชุดโครงการวิจัย การยืดอายุการเก็บรักษาอาหารด้วยการใช้โอโซน ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2552
12. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การคัดเลือกสายพันธุ์แบคทีเรียแลคติกที่สามารถลดกลิ่นถั่วและลดน้ำตาลโอลิโกแซคคาไรด์ ที่เป็นสาเหตุของการเกิดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อในผลิตภัณฑ์โยเกิร์ตพร้อมดื่มจากนมถั่วเหลือง (TMag) ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2552-2553
13. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การลดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในอุตสาหกรรมซอสปรุงรส (TMag) ได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2552-2553
14. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การผลิตสารให้กลิ่นรสซาโวรี่ด้วย Bacillus sp. โดยการหมักด้วยวิธี submerged cultureได้รับทุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2553-2554
15. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง เปรียบเทียบผลของการลดเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคในปลาหมึกสดแช่เยือกแข็ง ระหว่างการใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์กับเปอร์อะซิติกแอซิค ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2554
16. ผู้อำนวยแผนการวิจัย การพัฒนาครัสเตอร์ของกลุ่มธุรกิจขนมไทยท้องถิ่นและการจัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศสำหรับเส้นทางใหม่ของการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้อาหารในภูมิภาคตะวันตก ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2555-2556 งบประมาณ 4,046,460 บาท (สัญญาเลขที่ RDG 5550030 เวลา 12 เดือน 15 พฤษภาคม 2555- 14 พฤษภาคม 2556)
17. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การผลิตสารไบโอแอคทีฟชนิดผงโดยวิธีอิมัลชันเชิงซ้อน” ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2556-2557 งบประมาณ 1,265,800 บาท (สัญญาเลขที่ RDG 5650127 เวลา 12 เดือน 1 กันยายน 2556- 31 สิงหาคม 2557)
18. ผู้อำนวยแผนการวิจัย การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้อาหารในภูมิภาคตะวันตก ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2557-2558 งบประมาณ 2,385,900 บาท (สัญญาเลขที่ RDG 5750021 เวลา 12 เดือน 15 กรกฎาคม 2557- 14 กรกฎาคม 2558)
19. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การประยุกต์ใช้สารประกอบกลิ่นรสหลักเป็นตัวชี้วัดกระบวนการผลิตนมเปรี้ยว” ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2557-2558 งบประมาณ 575,500 บาท (สัญญาเลขที่ RDG 5750087 เวลา 12 เดือน 1 กันยายน 2557- 31 สิงหาคม 2558)
20. ผู้ร่วมโครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของน้ำส้มสายชูหมัก และพัฒนาผลิตภัณฑ์ไซรัปน้ำอ้อยและเครื่องดื่มชนิดต่างๆจากน้ำอ้อย ได้รับทุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2558-2559 งบประมาณ 1,442,700 บาท (สัญญาเลขที่ RDG 5950004 เวลา 12 เดือน 1 ธันวาคม 2558- 30 พฤศจิกายน 2559) อาจารย์ ดร. ชัยวัฒน์ บรรใดเพ็ชร เป็นหัวหน้าโครงการ
21. หัวหน้าโครงการย่อยเรื่อง “พัฒนาการผลิตเนยเหลวในโรงงานอุตสาหกรรมนมขนาดเล็ก” ภายใต้ชุดโครงการ “การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของโรงงานอุตสาหกรรมนมขนาดเล็ก”ได้รับทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2559 งบประมาณ 900,000 บาท (สัญญาเลขที่ SURDI 59/02/10 เวลา 12 เดือน 20 มกราคม 2559- 19 มกราคม 2560) อาจารย์ ดร. สุจินต์ วุฒิชัยวัฒน์ เป็นหัวหน้าชุดโครงการ
ตำรา หนังสือ
- Arunsri Leejeerajumnean, J. David Owens and Renu Pintong. 2014. Chapter 13 Thai Thua nao in “Indigeneous Fermented Foods of Southest Asia, Fermented Foods and Beverages Series” Ed . J. David Owens. CRC Press, Taylor And Francis Inc. 453 pages
บทความทางวิชาการ
1. Arunsri Leejeerajumnean. 2003. Thua nao: Alkali Fermented Soybean from Bacillus subtilis. Silpakorn University International Journal. Volume 3 Number 1-2, January-December 2003. 277-278.
อื่นๆ
-
สิทธิบัตร
-