ผศ.ดร. ปาเจรา พัฒนถาบุตร

การติดต่อ :
Phone : 034219363 E-mail : Patanathabutr_P@su.ac.t
การศึกษา :
- Ph.D. (Materials Science and Metallurgy : Polymer Technology), University of Cambridge, UK (1999)
- วท.บ. เกียรตินิยม (วัสดุศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2536)

Research Area
เทคโนโลยีพอลิเมอร์ (Polymer Technology), สารเติมแต่งพลาสติก (Plastic Additives), สิ่งทอและสีธรรมชาติ (Natural Dyeing and Textiles)
Research Area
ผลงานวิจัยสร้างสรรค์

นักวิจัยร่วม
น้ำฝน ไล่สัตรูไกล ปาเจรา พัฒนถาบุตร และอนุกูล บูรณประพฤษ์. (2558). “โครงการการออกแบบชุดเฉดสีเพื่อแสดงอัตลักษณ์ของจังหวัดเชียงใหม่ผ่านมุมมองการสร้างสรรค์ผลงานแฟชั่นและสิ่งทอ”, แหล่งทุนวิจัย : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) วิจัยทางด้านมนุษยศาสตร์ (สร้างสรรค์งานศิลป์) ปี 2557.
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่:
วารสารวิชาการ
1. Patanathabutr, P., Soysang, P., Leuang-On, P., Kasetsupsin, P., and Hongsriphan, N. (2019). “A case study of recycled poly(Lactic Acid) contaminated with petroleum-based thermoplastics used in packaging application” Key Engineering Materials 798, (2019) : 279-284.
2. Hongsriphan, N., Chutivasanaskun, K., Kantipongpipat, P., Thanokiang, J., and Patanathabutr, P. (2018). “Rheological and Viscoelastic Properties of Poly(Butylene Succinate)/ Poly(Ethylene Terephthalate) Blends” The International Polymer Conference of Thailand (PCT-8), Amari Watergate Hotel, Bangkok, (June 14-15) : 82-88.
3. Hongsriphan, N., Patanathabutr, P., and Lappokachai, K. (2018) “Tensile and impact properties of recycled poly(Ethylene terephthalate) and polycarbonate composites reinforced with silane treated hollow glass microspheres” Key Engineering Materials 772, (2018) : 33-37.
4. Nekhamanurak, B., Patanathabutr, P., and Hongsriphan, N. (2014). “The influence of micro-/nano-CaCO3 on thermal stability and melt rheology behavior of poly(lactic acid)” Energy Procedia 56: 118-128.
5. Wiriya-Amornchai, A., Hongsriphan, N., and Pattanatabutr, P. (2012). “Natural Dyeing of Wood Fibers for Green Biocomposites” Advanced Materials Research 488-489, (March): 511-514.
6. Nekhamanurak, B., Patanathabutr, P., and Hongsriphan, N. (2012). “Thermal-mechanical property and fracture behavior of plasticized PLA-CaCO3 nanocomposite” Plastics, Rubber and Composites 41 (4/5): 175-179.
7. Nekhamanurak, B., Patanathabutr, P., and Hongsriphan, N. (2012). “Surface modification CaCO3 nanoparticles with silica via sol-gel process using in Poly(lactic acid) nanocomposite” Advanced Materials Research 488-489: 520-524.
8. Nekhamanurak, B., Patanathabutr, P., and Hongsriphan, N. (2012) “Mechanical properties of hydrophilicity modified CaCO3-Poly(lactic acid) nanocomposite” Interbational Journal of Applied Physics and Mathematics 2(2): 98-103.
9. ปาเจรา พัฒนถาบุตร นิศารัตน์ ทวีวรรณ และโวล์คเกอร์ รอสบาส (2546). “การลดปริมาณสารช่วยยึดชนิดโลหะในการย้อมผ้าไหมด้วยสีธรรมชาติ โดยเทคนิคการสร้างสารอนินทรีย์บาง (Heavy metal mordant minimization in dyeing of silk fabric with natural dyes by inorganic thin layer technology)” วารสารวิจัยวิทยาศาสตร์ (Section T) ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย หน้าที่ 73-89.

Proceeding
1. Wongwisitchai, P., Hongsriphan, N. and Patanathabutr, P. (2018). “Effect of Printing Speed on Thermal and Mechanical Properties of Rapid Prototyped Samples for Shipping Packaging” Asian Workshop on Polymer Processing 2018, Chiang Mai, Thailand, (December 10-13) : 47-52.
2. Kanchanawaleekun, K., Hongsriphan, N., and Patanathabutr, P. (2018). “Preparation of Poly(Lactic Acid)/Alumina Composites For Dentistry Application” The International Polymer Conference of Thailand (PCT-8), Amari Watergate Hotel, Bangkok, (June 14-15) : 144-148.
3. Hongsriphan, N., Chutivasanaskun, K., Kantipongpipat, P., Thanokiang, J., and Patanathabutr, P. (2018). “Rheological and Viscoelastic Properties of Poly(Butylene Succinate)/ Poly(Ethylene Terephthalate) Blends” The International Polymer Conference of Thailand (PCT-8), Amari Watergate Hotel, Bangkok, (June 14-15) : 82-88.
4. Patanathabutr, P. (2016) “Improvement of Mechanical Properties and Colorfastness of Natural Dyed Aluminium Silicate/PLA Composites” Aachen-Dresden-Denkendorf International Textile Conference, Dresden, Germany, (November 24-25): 8 Pages.
5. Thepthienchai, C., Yaemklad, N., Gharernrungrat, B., Patanathabutr, P., and Sooksaen, P. (2014). “Microstructural Study of Chemical-Etched Glass Surfaces for Inkjet Printing Technology” The 31st Annual Conference of the Microscopy Society of Thailand”, Nakhonratchasima, Thailand, (January 29-31): 105-106.
6. Thepthienchai, C., Yaemklad, N., Gharernrungrat, B., Patanathabutr, P., and Sooksaen, P. (2014). “Surface Microstructure and Dye Adhesion of Anodized Aluminum Alloy” The 31st Annual Conference of the Microscopy Society of Thailand”, Nakhonratchasima, Thailand, (January 29-31.): 120-121.
7. ปาเจรา พัฒนถาบุตร และ น้ำฝน ไล่สัตรูไกล (2557). “กระบวนการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมสีธรรมชาติ” การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสร้างสรรค์ระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ 7: บูรณาการศาสตร์และศิลป์”, วังท่าพระ, กรุงเทพฯ, (24-26 มีนาคม): A-1 – A-8.
8. Patanathabutr, P., Nekhamanurak, B., and Hongsriphan, N. (2013). “Mechanical and Thermal Properties of Surface Modified CaCO3-Poly (Lactic Acid) Nanocomposite” การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนอุตสาหกรรม ปี 2556, คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์, นครปฐม, (2-3 ธันวาคม): 280-289.
9. Wiriya-Amornchai, A., Pattanatabutr, P., and Hongsriphan, N. (2012). “Thermal Stability of Natural Dyed Wood Fibers for using in Wood-Filled Biocomposite” The 6th Pure and Applied Chemistry International Conference (PACCON 2012), Chiang Mai, Thailand, (January 11-13): 246-249.
10. Hongsriphan, N., Patanathabutr, P., and Sirisukpibul, A. (2011). “Synthetic and Natural Dyeing of Wood Fibers in Wood-Plastic Composite” 18th International Conference on Composite Materials, Jeju Island, Korea, (August 21-26.)

ผลงานวิจัยฉบับเต็ม
หัวหน้านักวิจัย
ปาเจรา พัฒนถาบุตร ภัทร์ สุขแสน และคณะ. (2556). “โครงการพัฒนาวัสดุรองรับการพิมพ์อิงค์เจ็ทเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายใน: การเพิ่มความสามารถในการพิมพ์ของวัสดุอลูมิเนียมและกระจก แผนงานโครงการวิจัยเชิงบูรณาการเรื่อง การบูรณาการการออกแบบและการพัฒนาเชิงวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม สำหรับการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายใน”, แหล่งทุนวิจัย : ทุนโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจำปี 2555.

นักวิจัยร่วม
สุพรรณี ฉายะบุตร ปาเจรา พัฒนถาบุตร และคณะ. (2553). “โครงการวิจัยการผลิตหมึกพิมพ์อิงค์เจ็ตสีย้อมธรรมชาติ สำหรับพิมพ์ผ้าไหม”, แหล่งทุนวิจัย : โปรแกรมวัสดุเฉพาะทาง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.

หัวหน้านักวิจัย
ปาเจรา พัฒนถาบุตร และพลอย เหลืองไพโรจน์. (2551). “การพัฒนาผ้ามาตรฐานสีธรรมชาติเพื่อการทดสอบความคงทนต่อแสงสำหรับผ้าทอพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติ”, แหล่งทุนวิจัย โครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทุนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ปี 2550

นักวิจัยร่วม
สุพรรณี ฉายะบุตร ปาเจรา พัฒนถาบุตร Volker Rossbach และพลอย เหลืองไพโรจน์. (2547). “ชุดโครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีหัตถกรรม” ประกอบด้วยโครงการย่อย 4 โครงการ คือ โครงการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพวัสดุเส้นใยให้ได้คุณภาพโดยการใช้สารปลอดมลพิษ โครงการวิจัยการเพิ่มจำนวนเฉดสีย้อมธรรมชาติ โครงการวิจัยการลดการใช้โลหะหนักในการย้อมสีวัสดุ และโครงการออกแบบผลิตภัณฑ์ตามแนวโน้มความนิยมต่างประเทศ แผนโครงการวิจัยแบบบูรณาการ พื้นที่เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง”, แหล่งทุนวิจัย : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ปี 2547.

หัวหน้านักวิจัย
ปาเจรา พัฒนถาบุตร Volker Rossbach และนิศารัตน์ ทวีวรรณ. (2546). “โครงการแนวทางใหม่ในการทำโลหะมอร์แด้นท์สำหรับการย้อมสีธรรมชาติด้วยเทคโนโลยีชั้นสารอนินทรีย์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมที่ปลอดภัย”, แหล่งทุนวิจัย : โครงการสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานวิจัยในภาคอุตสาหกรรม (IRAS) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายอุตสาหกรรม (ฝ่าย 5) ปี 2544.

นักวิจัยร่วม
ปาเจรา พัฒนถาบุตร และคณะ. (2544) “การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะพลาสติกเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่” สำหรับบริษัทไทยรุ่งเรืองอุตสาหกรรมพลาสติก จำกัด, แหล่งทุนวิจัย : ทุนสนับสนุนจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

ผลงานวิจัยในฐานะอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
พีระพงษ์ วงศ์วิศิษฏ์ชัย. (2562). “การจำลองการออกแบบและการเลือกใช้วัสดุสำหรับบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
กัลยกานต์ ลาภโภคาชัย. (2558). “การศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงสมบัติเชิงกลของพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลตที่นำมาแปรรูปใช้ใหม่ผสมพอลิคาร์บอเนตและสารเติมแต่ง” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
บวรกิตติ์ เนคมานุรักษ์. (2555). “Effect of Surface - Modified Calcium Carbonate Nano - Particles on Properties of Biocomposites” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อธิวัชร์ วิริยะอมรชัย. (2554). “การศึกษาความเสถียรต่อสภาพแวดล้อมของวัสดุคอมพอสิตชีวภาพพอลิแล็กติกแอซิดและผงไม้ย้อมสีธรรมชาติ” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
ศิวพันธุ์ รัตนปฏิพันธุ์. (2552). “การศึกษาวัสดุพอลิเมอร์เสริมองค์ประกอบด้วยอลูมิเนียมซิลิเกตสีธรรมชาติเพื่อเป็นตัววัดค่าความเป็นกรดด่าง” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยาสารนิพนธ์หลัก
รุ่งกาญจน์ ศิลปสธรรม. (2551). “ปรากฏการณ์การแพร่ของแม่สีในการย้อมเส้นใยพอลิเอสเทอร์ที่มีรูปทรงตัดขวางเป็นสามเหลี่ยมด้วยกระบวนการย้อมสีดิสเพอร์ส” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : -.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
พลอย เหลืองไพโรจน์. (2550). “การพัฒนาผ้ามาตรฐานสีธรรมชาติเพื่อการทดสอบความคงทนต่อแสงสำหรับผ้าทอพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติ” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : โครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2549.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
นริศรา จิรตระกูลชัย. (2549). “การคัดแยก ABS และ HIPS ด้วยกระบวนการ Froth Flotation ที่ใช้ Surfactant” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
บวรกิตติ์ เนคมานุรักษ์. (2549). “การออกแบบระบบการแยกพลาสติก HIPS และ ABS ที่ใช้ในเทคนิค Froth Flotation” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
นิศารัตน์ ทวีวรรณ. (2546). “การลดปริมาณของเสียที่เป็นพิษในการย้อมผ้าไหมด้วยสีธรรมชาติโดยการทำให้เกิดโครงสร้างของสารอนินทรีย์ที่ทำหน้าที่เชื่อมโยง” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และโครงการสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานวิจัยในภาคอุตสาหกรรม (IRAS) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายอุตสาหกรรม (ฝ่าย 5) ปี 2544.

ผลงานวิจัยในฐานะอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
กัลยกานต์ ลาภโภคาชัย. (2558). “การศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงสมบัติเชิงกลของพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลตที่นำมาแปรรูปใช้ใหม่ผสมพอลิคาร์บอเนตและสารเติมแต่ง” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
บวรกิตติ์ เนคมานุรักษ์. (2555). “Effect of Surface - Modified Calcium Carbonate Nano - Particles on Properties of Biocomposites” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อธิวัชร์ วิริยะอมรชัย. (2554). “การศึกษาความเสถียรต่อสภาพแวดล้อมของวัสดุคอมพอสิตชีวภาพพอลิแล็กติกแอซิดและผงไม้ย้อมสีธรรมชาติ” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
ศิวพันธุ์ รัตนปฏิพันธุ์. (2552). “การศึกษาวัสดุพอลิเมอร์เสริมองค์ประกอบด้วยอลูมิเนียมซิลิเกตสีธรรมชาติเพื่อเป็นตัววัดค่าความเป็นกรดด่าง” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยาสารนิพนธ์หลัก
รุ่งกาญจน์ ศิลปสธรรม. (2551). “ปรากฏการณ์การแพร่ของแม่สีในการย้อมเส้นใยพอลิเอสเทอร์ที่มีรูปทรงตัดขวางเป็นสามเหลี่ยมด้วยกระบวนการย้อมสีดิสเพอร์ส” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : -.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
พลอย เหลืองไพโรจน์. (2550). “การพัฒนาผ้ามาตรฐานสีธรรมชาติเพื่อการทดสอบความคงทนต่อแสงสำหรับผ้าทอพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติ” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : โครงการทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2549.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
นริศรา จิรตระกูลชัย. (2549). “การคัดแยก ABS และ HIPS ด้วยกระบวนการ Froth Flotation ที่ใช้ Surfactant” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
บวรกิตติ์ เนคมานุรักษ์. (2549). “การออกแบบระบบการแยกพลาสติก HIPS และ ABS ที่ใช้ในเทคนิค Froth Flotation” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
นิศารัตน์ ทวีวรรณ. (2546). “การลดปริมาณของเสียที่เป็นพิษในการย้อมผ้าไหมด้วยสีธรรมชาติโดยการทำให้เกิดโครงสร้างของสารอนินทรีย์ที่ทำหน้าที่เชื่อมโยง” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และโครงการสนับสนุนผู้ปฏิบัติงานวิจัยในภาคอุตสาหกรรม (IRAS) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายอุตสาหกรรม (ฝ่าย 5) ปี 2544.
ผลงานวิจัยสร้างสรรค์

ผลงานวิจัยสร้างสรรค์
-
ตำรา หนังสือ
- ผศ.ดร.ปาเจรา พัฒนถาบุตร. (2551). กระบวนการย้อมสีธรรมชาติ. ISBN 978-974-641-214-8 พิมพ์ครั้งที่ 1. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ผศ.ดร.ปาเจรา พัฒนถาบุตร. (2548). คู่มือย้อมสีธรรมชาติ เฉดสีย้อมธรรมชาติกับชนิดของโลหะมอร์แด้นท์. ISBN 974-9624-85-8 พิมพ์ครั้งที่ 1. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร
บทความทางวิชาการ
1. Rossbach, V., Patanathabutr, P., and Wichitwechkarn, J., (2003), “Copying and manipulating nature: innovation for textile materials” Fiber and Polymers, 4 (1), pp. 8-14.
อื่นๆ
- พ.ศ. 2548 ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดี ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ในหัวข้อ “โครงการแนวทางใหม่ใน การทำโลหะมอร์แด้นท์สำหรับการย้อมสีธรรมชาติด้วยเทคโนโลยีชั้นสารอนินทรีย์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าไหมที่ปลอดภัย”
- พ.ศ. 2552 อาจารย์ที่ปรึกษา ในโครงการ “A Study of Water Drops Spreading in Textiles Under Microgravity Condition” โดยได้รับการคัดเลือกเป็นตัวแทนประเทศไทยจากการประกวด The 4th Student Zero-gravity Flight Experiment Contest จัดโดยโครงการ JAXA ฝ่ายสื่อวิทยาศาสตร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ซึ่งเป็นการประกวดหาโครงการทดลองในการจำลองสภาพไร้น้ำหนัก ไปทำการทดลองบนเครื่องบินที่มีสมรรถนะสูง ณ ประเทศญี่ปุ่น ทำการบินชนิด Parabolic Flight ทำให้เกิดสภาพ Zero-Gravity
สิทธิบัตร
-