รศ.ดร. ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์

การติดต่อ :
Phone : 034219364 ext. 25721 E-mail : Suttiruengwo
การศึกษา :
- Dr.-Ing. (Chemical Engineering), Friedrich-Alexander Universitaet- Erlangen-Nuernberg, Germany (2005)
- M.Sc. (Chemical Engineering), University of Wales, UK (1998)
- วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2538)

Research Area
การคอมพาวด์ดิ้งพลาสติกชีวภาพ (Bioplastics compounding), รีแอคตีฟเบลนด์ของพลาสติกชีวภาพ (Reactive blending of bioplastics), การปรับปรุงสมบัติพลาสติกชีวภาพ (Modification of bioplastics), เทคนิคใหม่ในการเตรียมพลาสติกชีวภาพ (Novel methods for bioplastics fabrication), การศึกษาอายุการเก็บพลาสติกชีวภาพ (helf-life of bioplastics), การสังเคราะห์พลาสติกจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide derived plastics), ซิลิกาจากเถ้าแกลบและการนำไปใช้ในชีววิทยาศาสตร์ (Silica derived from rice husk ash and its application in life science)
Research Area
ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่:
วารสารวิชาการ
1. Khankrua, R. Pivsa-Art, S. Hiroyuki, H. and Suttiruengwong, S. (2015). “Grafting of poly (lactic acid) with maleic anhydride using supercritical carbon dioxide” IOP Conf. Ser.: Mater. Sci. Eng. 87 012066.
2. Nanthananon, P. Seadan, M. Pivsa-Art, S. and Suttiruengwong, S. (2015). “Enhanced crystallization of poly (lactic acid) through reactive aliphatic bisamide” IOP Conf. Ser. : Mater. Sci. Eng. 87 012067.
3. Suttiruengwong, S. ,Sotho, K. and Seadan, M. (2014). “Effect of Glycerol and Reactive Compatibilizers on Poly(butylene succinate)/Starch Blends” Journal of Renewable Materials, 1 March 2014 (8) : 85-92.
4. Khankrua, R., Pivsa-Art, S., Hiroyuki, H. and Suttiruengwong, S. (2014). “Effect of Chain Extenders on Thermal and Mechanical Properties of Poly(lactic acid) at High Processing Temperatures: Potential Application in PLA/Polyamide 6 Blend” Polymer Degradation and Stability, 108 : 232–240.
5 R Khankrua,• S Pivsa-Art, H Hiroyuki and S Suttiruengwong (2013). “Thermal and Mechanical Properties of Biodegradable Polyester/Silica Nanocomposites” Energy Procedia, 34 : 705-713.
6. Suttiruengwong, S., Pitak, S., SaeDan, M., Wongpornchai, W. and Singho, D. (2014). “Binary-additives Toughened Biopolymer for Packaging Application” Energy Procedia, 56 : 431-438.
7. Chavalitkul, J., Likittanaprasong, N., Seansala, P., Suttiruengwong, S. and Seadan, M. (2014). “Application of Ultrasonic Atomization for Biopolymer Particles and Tube Fabrication” Energy Procedia, 56 : 458-465.
8. Khankrua, R., Pivsa-Art, S., Hiroyuki, H. and Suttiruengwong, S. (2013). “Thermal and Mechanical Properties of Biodegradable Polyester/Silica Nanocomposites” Energy Procedia, 34 : 705-713.
9. Leadprathom, J., Suttiruengwong, S., Threepopnatkul, P., and Seadan, M. (2010). “CompatibilizedPolylactic Acid/Thermoplastic Starch by Reactive Blend” Journal of Metals, Materials and Minerals, 20, 3 (December) : 87-90.
10. Muenprasat, D., Suttireungwong, S., and Thongpin, C. (2010). “Functionalization of Poly(Lactic Acid) with Maleic Anhydride for Biomedical Application” Journal of Metals, Materials and Minerals, 20, 3 (December) : 189-192.

ผลงานวิจัยฉบับเต็ม
1. ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์และคณะ. (2557). “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทถุงต่างๆจากพลาสติกชีวภาพและปรับปรุงสมบัติทางความร้อนของพลาสติกชีวภาพ” กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2556
2. ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์และคณะ. (2556). “การพัฒนาสูตรพลาสติกชีวภาพที่มาจากวัสดุทางการเกษตรสำหรับผลิตภัณฑ์แฟ้มเอกสารแบบสอดและการ์ดพลาสติกแข็ง” กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2555
3. ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์และคณะ. (2555). “การเตรียมวัสดุพอลิเมอร์โครงร่างที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพสำหรับงานวิศวกรรมเนื้อเยื่อ” กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2553
4. สุมนมาลย์ เนียมหลาง และศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์. (2555). “การปรับปรุงความสามารถในการต้านทานความเย็นของพลาสติกชีวภาพ” กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2554
ผลงานวิจัยในฐานะอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก

อรรคกร สัญญารักษ์. (2558). “การเพิ่มสมบัติทางความเหนียวของพอลิแลคติกแอซิดที่ปรับปรุงโดยพอลิเอไมด์ 4 และพอลิเอไมด์ 11” มหาวิทยาลัยศิลปากร, ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
รัตติกาล ขันธ์เครือ. (2558). “Enhancement of Thermal Stability of Biodegradable Polymers” มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
กาญจนา โสโท. (2557). “สมบัติของระบบพอลิเมอร์เบลนด์ที่มีพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตเป็นเมตริกซ์หลักโดยกระบวนการรีแอคตีฟเอกซ์ทรูชัน” มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
ภรวลัญช์ นันท์ธนานนท์. (2557). “การปรับปรุงพอลิแลคติคแอซิดโดยใช้อะลิฟาติกเอไมด์” มหาวิทยาลัยศิลปากร, สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
จารีนุช โรจน์เสถียร. (2555). “ศึกษาการผสมระหว่างสไตรีนอะคริโลไนไตรล์โคพอลิเมอร์ ออฟเกรดและยางธรรมชาติ” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
จิรวัฒน์ เลียดประถม. (2552). “รีแอคทีพเบลนด์ระหว่างพอลิแลคติก แอสิทและเทอร์โมพลาสติกสตาร์ช” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
ดาวรัตน์ เหมือนประสาท. (2554). “การปรับปรุงสมบัติของพอลิแลคติกแอซิดเพื่อประยุกต์ใช้ในด้านชีวการแพทย์” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
นายปฐมพงศ์ พัวทวี. (2553). “การเตรียมวัสดุไฮโดรฟิลิกและไฮโดรโฟบิกเมโซพอรัสซิลิกาจากขี้เถ้าแกลบสำหรับขนส่งยาที่ละลายได้น้อย” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
วรวรรณ อรัญญาเกษมสุข. (2553). “รีแอกตีฟเบลนด์ ของพอลิแลคติกแอซิด พอลิบิวทิลีน” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และวัสดุขั้นสูง.

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
รัตติกาล ขันธ์เครือ. (2551). “ระบบนำส่งที่มีพอลิเมอร์เป็นตัวกลาง : ประยุกต์ใช้ในการขนส่งวิตามิน” มหาวิทยาลัยศิลปากร, แหล่งทุนวิจัย : ภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ผลงานวิจัยสร้างสรรค์
-
ตำรา หนังสือ
-
บทความทางวิชาการ
1. ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์. (2555). “คอมพาวด์ดิ้งพลาสติกชีวภาพ.” Bioplastics 4 : 16-17.
2. ศุภกิจ สุทธิเรืองวงศ์. (2555). “เศรษฐกิจที่มีรากฐานจากชีวภาพหรือเศรษฐกิจชีวภาพ.” วารสารวิศวกรรมสาร 65(5) (กันยายน – ตุลาคม 2555) : 54-59.
อื่นๆ
-
สิทธิบัตร
-