ระดับปริญญาโท
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ได้ออกแบบขึ้นโดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างองค์ความรู้ และผลิตนักเทคโนโลยีอาหารที่มีความรู้ ทักษะ และความสามารถเพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป ซึ่งเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศไทยที่เป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจไปสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้สูงขึ้น ตอบสนองนโยบายประเทศไทย 4.0 สำหรับการสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นโดยใช้การวิจัยเป็นฐานแห่งการพัฒนาจะนำไปสู่การยกระดับนวัตกรรม และการจัดการรูปแบบใหม่ อันจะเป็นแนวทางไปสู่การสร้างความเข้มแข็งจากภายในและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากของประเทศไทยอย่างสมดุลและยั่งยืนประเทศไทยที่เป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจไปสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้สูงขึ้น ตอบสนองนโยบายประเทศไทย 4.0 สำหรับการสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นโดยใช้การวิจัยเป็นฐานแห่งการพัฒนาจะนำไปสู่การยกระดับนวัตกรรม และการจัดการรูปแบบใหม่ อันจ
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงาน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563) เป็นหลักสูตรที่มีการระบุผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (PLOs) ที่ชัดเจน โดยเน้นให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ ประยุกต์ และประเมินมาตรการอนุรักษ์และจัดการพลังงาน และการจัดหาแหล่งพลังงานทดแทนได้ รวมทั้งมีแผนการเรียนที่เหมาะสมกับผู้เรียนที่หลากหลาย ทั้ง แผน ก ที่เหมาะสำหรับผู้เรียนที่เรียนเต็มเวลาได้ และแผน ข ที่เหมาะสำหรับผู้เรียนที่เรียนไปด้วยและทำงานไปด้วย โดยยังคงมีการควบคุมคุณภาพเป็นอย่างดี เนื่องจากผลงานของนักศึกษาจะต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติทั้งหมด
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ได้ออกแบบขึ้นโดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างองค์ความรู้ และผลิตนักเทคโนโลยีอาหารที่มีความรู้ ทักษะ และความสามารถเพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป ซึ่งเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศไทยที่เป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจไปสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้สูงขึ้น ตอบสนองนโยบายประเทศไทย 4.0 สำหรับการสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นโดยใช้การวิจัยเป็นฐานแห่งการพัฒนาจะนำไปสู่การยกระดับนวัตกรรม และการจัดการรูปแบบใหม่ อันจะเป็นแนวทางไปสู่การสร้างความเข้มแข็งจากภายในและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากของประเทศไทยอย่างสมดุลและยั่งยืนประเทศไทยที่เป็นกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจไปสู่การเป็นประเทศที่มีรายได้สูงขึ้น ตอบสนองนโยบายประเทศไทย 4.0 สำหรับการสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นโดยใช้การวิจัยเป็นฐานแห่งการพัฒนาจะนำไปสู่การยกระดับนวัตกรรม และการจัดการรูปแบบใหม่
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตที่ดำเนินการจัดสอนโดยภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุมีจุดมุ่งหมายในการทำให้นักศึกษาที่ศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาของเราสามารถออกแบบและบริหารจัดการงานวิจัยในสาขาวิชาวิทยาการและวิศวกรรมพอลิเมอร์ หลักสูตรฯ มุ่งหมายในการผลิตนักวิจัย/นักพัฒนาที่ได้รับการฝึกฝนเป็นอย่างดีในระเบียบวิธีวิจัย และมีทักษะสูงในการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือขั้นสูง นักศึกษาสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างมีความรับผิดชอบในการทำงานเป็นทีม และแสดงออกถึงความเป็นผู้นำ โดยหลักสูตรฯ ได้ใช้การทำงานในหน้าที่ผู้ช่วยสอนเป็นเครื่องมือในการฝึกฝน นักศึกษาจะมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตในการค้นคว้าและวิจารณ์งานของตนเองบนพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชา เนื่องจากในปัจจุบัน เศรษฐกิจหมุนเวียนได้ถูกผลักดันให้เกิดขึ้น นักศึกษาของหลักสูตรฯ จะได้รับการสนับสนุนให้ทำงานวิจัยของตนเองเพื่อตอบรับแนวทางเชิงปฏิบัติดังกล่าว
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตที่ดำเนินการจัดสอนโดยภาควิชาวิทยาการและวิศวกรรมวัสดุมีจุดมุ่งหมายในการทำให้นักศึกษาที่ศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาของเราสามารถออกแบบและบริหารจัดการงานวิจัยในสาขาวิชาวิทยาการและวิศวกรรมพอลิเมอร์ หลักสูตรฯ มุ่งหมายในการผลิตนักวิจัย/นักพัฒนาที่ได้รับการฝึกฝนเป็นอย่างดีในระเบียบวิธีวิจัย และมีทักษะสูงในการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือขั้นสูง นักศึกษาสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างมีความรับผิดชอบในการทำงานเป็นทีม และแสดงออกถึงความเป็นผู้นำ โดยหลักสูตรฯ ได้ใช้การทำงานในหน้าที่ผู้ช่วยสอนเป็นเครื่องมือในการฝึกฝน นักศึกษาจะมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตในการค้นคว้าและวิจารณ์งานของตนเองบนพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชา เนื่องจากในปัจจุบัน เศรษฐกิจหมุนเวียนได้ถูกผลักดันให้เกิดขึ้น นักศึกษาของหลักสูตรฯ จะได้รับการสนับสนุนให้ทำงานวิจัยของตนเองเพื่อตอบรับแนวทางเชิงปฏิบัติดังกล่าว
เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎี สามารถคิดวิเคราะห์ ติดตามความก้าวหน้าทางวิทยาการในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพด้านต่าง ๆ ตลอดจนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพัฒนางานประเภทต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถบูรณาการความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาไทยให้เข้ากับงานวิจัยระดับสากลโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพมีอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพหลายด้าน ซึ่งมีศักยภาพพร้อมที่จะผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ ได้แก่ ชีวโมเลกุลและพันธุวิศวกรรมด้านพืชและจุลินทรีย์ เทคโนโลยีตัวเร่งชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีเซลล์สัตว์ เทคโนโลยีของเซลล์และเนื้อเยื่อพืช เทคโนโลยีพลังงานชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านวิศวกรรมกระบวนการชีวภาพ
เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎี สามารถคิดวิเคราะห์ ติดตามความก้าวหน้าทางวิทยาการในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพด้านต่าง ๆ ตลอดจนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อพัฒนางานประเภทต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถบูรณาการความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาไทยให้เข้ากับงานวิจัยระดับสากลโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพมีอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีชีวภาพหลายด้าน ซึ่งมีศักยภาพพร้อมที่จะผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ ได้แก่ ชีวโมเลกุลและพันธุวิศวกรรมด้านพืชและจุลินทรีย์ เทคโนโลยีตัวเร่งชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีเซลล์สัตว์ เทคโนโลยีของเซลล์และเนื้อเยื่อพืช เทคโนโลยีพลังงานชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร อุตสาหกรรมเกษตร ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านวิศวกรรมกระบวนการชีวภาพ
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) มุ่งเน้นการพัฒนาวิศวกร และนักวิจัยที่มีความรู้ความสามารถในระดับสูงทางด้านสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี โดยเน้นกระบวนการทำงานวิจัยเพื่อให้สามารถแสวงหาความรู้ใหม่ได้อย่างมีอิสระ และเน้นการฝึกทักษะการปฏิบัติงานวิจัยโดยผ่านประสบการณ์การทำวิทยานิพนธ์ทางสาขาวิศวกรรมเคมี ที่มีส่วนในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ รวมทั้งเน้นการผลิตมหาบัณฑิตที่มีความสามารถในการคิดอย่างสร้างสรรค์เพื่อทำให้เกิดความคิดและพัฒนางานวิจัยได้ เพื่อความก้าวหน้าทางวิชาการ มีการบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ และเพื่อเป็นการเตรียมบุคลากรที่มีความรู้และความชำนาญในการทำงาน ดำเนินงานวิจัยให้กับภาคการศึกษา และภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้ หลักสูตรยังมีความหลากหลายเพื่อส่งเสริมให้ผู้มีผลการเรียนดีเด่น มีประสบการณ์ และมีความเชี่ยวชาญในการทำวิจัยสามารถเข้าศึกษา โดยมุ่งเน้นการทำงานวิจัยได้อย่างจริงจัง
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจวิศวกรรม เน้นผลิตงานวิจัยด้านธุรกิจวิศวกรรมของประเทศและพัฒนาบุคคลในประเทศให้มีความรู้ความสามารถในการสร้างงานวิจัยในด้านการวิเคราะห์ธุรกิจเชิงปริมาณสำหรับงานวิศวกรรม การสร้างแบบจำลองต้นทุนวิศวกรรม การวิเคราะห์นโยบายเพื่อการสนับสนุนทางด้านธุรกิจวิศวกรรม การประเมินความเป็นไปได้ของโครงการทางวิศวกรรม การตรวจสอบและควบคุมภายในของโครงการ การวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีและธุรกิจวิศวกรรม การบริหารโครงการวิศวกรรม และการพัฒนาธุรกิจสินค้านวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพให้บุคคลในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่ต้องการศึกษาต่อให้มีความรู้ความสามารถทั้งทางด้านทฤษฎีตลอดจนมีความชำนาญในการวิจัยและพัฒนาทางด้านธุรกิจวิศวกรรม โดยตัวหลักสูตรสามารถพัฒนาบุคคลให้มีมุมมองทางวิศวกรรมในเชิงพาณิชย์ให้กับผู้ที่มีพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี และมุมมองทางพาณิชย์ในเชิงวิศวกรรมศาสตร์ให้กับผู้ที่มีพื้นฐานทางด้านพาณิชยศาสตร์และการบัญชี การจัดหลักสูตรในลักษณะนี้เป็นลักษณะเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในตลาดแรงงานให้กับผู้จบการศึกษาในหลักสูตรนี้ และทำให้องค์กรธุรกิจมีความสามารถในการพัฒนาองค์กรได้อย่างยั่งยืน
1. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรมที่มีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ มีความชำนาญในการวิจัยและพัฒนาทางด้านการจัดการงานวิศวกรรม
2. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตโดยมีโครงการร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมและสถาบันวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม (สวทน.) ในการสร้างมหาบัณฑิตที่มีในการเข้าไปเรียนรู้การทำงานจริงในโรงงาน พร้อมทั้งเรียนรู้จากปัญหาจริงในภาคอุตสาหกรรมและทำงานวิจัยที่ผู้ประกอบการ (เจ้าของโรงงาน) ต้องการอย่างแท้จริง
3 มุ่งเน้นและจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ซึ่งมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่หลากหลายที่ใช้ในการสร้างผลงานวิจัย อาทิเช่น Visual Studio, Mathlab, Premium Solver Gurobi Arena และ Pro-Model
1. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรมที่มีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ มีความชำนาญในการวิจัยและพัฒนาทางด้านการจัดการงานวิศวกรรม
2. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตโดยมีโครงการร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมและสถาบันวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม (สวทน.) ในการสร้างมหาบัณฑิตที่มีในการเข้าไปเรียนรู้การทำงานจริงในโรงงาน พร้อมทั้งเรียนรู้จากปัญหาจริงในภาคอุตสาหกรรมและทำงานวิจัยที่ผู้ประกอบการ (เจ้าของโรงงาน) ต้องการอย่างแท้จริง
3 มุ่งเน้นและจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ซึ่งมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่หลากหลายที่ใช้ในการสร้างผลงานวิจัย อาทิเช่น Visual Studio, Mathlab, Premium Solver Gurobi Arena และ Pro-Model
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจวิศวกรรม เน้นผลิตงานวิจัยด้านธุรกิจวิศวกรรมของประเทศและพัฒนาบุคคลในประเทศให้มีความรู้ความสามารถในการสร้างงานวิจัยในด้านการวิเคราะห์ธุรกิจเชิงปริมาณสำหรับงานวิศวกรรม การสร้างแบบจำลองต้นทุนวิศวกรรม การวิเคราะห์นโยบายเพื่อการสนับสนุนทางด้านธุรกิจวิศวกรรม การประเมินความเป็นไปได้ของโครงการทางวิศวกรรม การตรวจสอบและควบคุมภายในของโครงการ การวิเคราะห์และจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีและธุรกิจวิศวกรรม การบริหารโครงการวิศวกรรม และการพัฒนาธุรกิจสินค้านวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพให้บุคคลในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่ต้องการศึกษาต่อให้มีความรู้ความสามารถทั้งทางด้านทฤษฎีตลอดจนมีความชำนาญในการวิจัยและพัฒนาทางด้านธุรกิจวิศวกรรม โดยตัวหลักสูตรสามารถพัฒนาบุคคลให้มีมุมมองทางวิศวกรรมในเชิงพาณิชย์ให้กับผู้ที่มีพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี และมุมมองทางพาณิชย์ในเชิงวิศวกรรมศาสตร์ให้กับผู้ที่มีพื้นฐานทางด้านพาณิชยศาสตร์และการบัญชี การจัดหลักสูตรในลักษณะนี้เป็นลักษณะเด่นและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในตลาดแรงงานให้กับผู้จบการศึกษาในหลักสูตรนี้ และทำให้องค์กรธุรกิจมีความสามารถในการพัฒนาองค์กรได้อย่างยั่งยืน
1) เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ผู้มีความรู้ความสามารถ และศักยภาพในการประกอบอาชีพในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
2) เพื่อผลิตมหาบัณฑิตผู้มีความใฝ่รู้ มีความสามารถในงานพัฒนาและการวิจัยในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
3) เพื่อสร้างมหาบัณฑิตผู้มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำ สามารถปรับตัวสำหรับงานที่เกิดขึ้นตลอดชีวิต และมีทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
4) เพื่อสนองนโยบายรัฐ โดยเป็นการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีทักษะด้านเทคโนโลยี รวมทั้งสนองความต้องการแรงงานระดับสูงด้านไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ที่มีทักษะในการผสมผสานฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เข้าด้วยกัน
1) เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ผู้มีความรู้ความสามารถ และศักยภาพในการประกอบอาชีพในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
2) เพื่อผลิตมหาบัณฑิตผู้มีความใฝ่รู้ มีความสามารถในงานพัฒนาและการวิจัยในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
3) เพื่อสร้างมหาบัณฑิตผู้มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำ สามารถปรับตัวสำหรับงานที่เกิดขึ้นตลอดชีวิต และมีทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
4) เพื่อสนองนโยบายรัฐ โดยเป็นการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่มีทักษะด้านเทคโนโลยี รวมทั้งสนองความต้องการแรงงานระดับสูงด้านไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ที่มีทักษะในการผสมผสานฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เข้าด้วยกัน
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) มุ่งเน้นการพัฒนาวิศวกร และนักวิจัยที่มีความรู้ความสามารถในระดับสูงทางด้านสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี โดยเน้นกระบวนการทำงานวิจัยเพื่อให้สามารถแสวงหาความรู้ใหม่ได้อย่างมีอิสระ และเน้นการฝึกทักษะการปฏิบัติงานวิจัยโดยผ่านประสบการณ์การทำวิทยานิพนธ์ทางสาขาวิศวกรรมเคมี ที่มีส่วนในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ รวมทั้งเน้นการผลิตมหาบัณฑิตที่มีความสามารถในการคิดอย่างสร้างสรรค์เพื่อทำให้เกิดความคิดและพัฒนางานวิจัยได้ เพื่อความก้าวหน้าทางวิชาการ มีการบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ และเพื่อเป็นการเตรียมบุคลากรที่มีความรู้และความชำนาญในการทำงาน ดำเนินงานวิจัยให้กับภาคการศึกษา และภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้ หลักสูตรยังมีความหลากหลายเพื่อส่งเสริมให้ผู้มีผลการเรียนดีเด่น มีประสบการณ์ และมีความเชี่ยวชาญในการทำวิจัยสามารถเข้าศึกษา โดยมุ่งเน้นการทำงานวิจัยได้อย่างจริงจัง